คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยมหิดล (ICT Mahidol) ขอแสดงความยินดีกับ 7 ผลงานวิจัยของคณาจารย์ นักศึกษา และศิษย์เก่าที่ได้รับ “รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2566 โดยผลงานที่ได้รับรางวัล มีดังนี้
รางวัลผลงานวิจัย ระดับดี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ จำนวน 3 รางวัล ได้แก่
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้การเรียนรู้เชิงลึกแบบสามมิติร่วมกับการใช้ข้อมูลตำแหน่งพิกัดในการแยกส่วนหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ต้าส่วนช่องท้องจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (A Retrospective Study of 3D Deep Learning Approach Incorporating Coordinate Information to improve the Segmentation of Pre- and Post-operative Abdominal Aortic Aneurysm)”
-
- ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ทนงชัย สิริอภิสิทธิ์ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
- Professor Dr. Peter Haddawy รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะ ICT
- รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT)
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การใช้การเรียนรู้เชิงลึกแบบสามมิติร่วมกับการใช้ข้อมูลตำแหน่งพิกัดในการแยกส่วนหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ต้าส่วนช่องท้องจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (A Retrospective Study of 3D Deep Learning Approach Incorporating Coordinate Information to improve the Segmentation of Pre- and Post-operative Abdominal Aortic Aneurysm)”
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การจำลองสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมการเดินของสุนัขในการแพร่ระบาดและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข (Simulation of Scene Generator and Dogs Walking Habit in Canine Rabies Epidemic and Control)”
-
- รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT)
- รองศาสตราจารย์ ดร.นายสัตวแพทย์อนุวัตน์ วิรัชสุดากุล ภาควิชาเวชศาสตร์คลินิกและการสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กานต์สุดา ลีฬหาพงศธร คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- นายสัตวแพทย์ ดร.วีรพงษ์ ธนพงศ์ธรรม ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน (โรคพิษสุนัขบ้า) สำนักควบคุม ป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- นายจิราวัชร์ จิวัฒน์ธนากุล ศิษย์เก่าหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเกมและเกมมิฟิเคชัน คณะ ICT
- นายชวพัฒน์ ยงจิตติกรกุล ศิษย์เก่าหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเกมและเกมมิฟิเคชัน คณะ ICT
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การจำลองสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมการเดินของสุนัขในการแพร่ระบาดและควบคุมโรคพิษสุนัขบ้าในสุนัข (Simulation of Scene Generator and Dogs Walking Habit in Canine Rabies Epidemic and Control)”
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การค้นหาและแสดงข้อมูลโควิด-19 ในภาพการตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก (COVID-19 Detection and Heatmap Generation in Chest X-Ray Images)”
-
- ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ทนงชัย สิริอภิสิทธิ์ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
- รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT)
- รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ตรงธรรม ทองดี ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
- รองศาสตราจารย์ ดร.ไพรัช สายวิรุณพร ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
- นางสาวปุณยนุช บวรจิณณ์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT
- นายกฤตณัฐ สุทัศนานนท์ นักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT
- ดร.ศรัฐฐา กาญจนปรีชากร ศิษย์เก่าหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT
-
- ผลงานวิจัยเรื่อง “การค้นหาและแสดงข้อมูลโควิด-19 ในภาพการตรวจเอ็กซเรย์ทรวงอก (COVID-19 Detection and Heatmap Generation in Chest X-Ray Images)”
รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ จำนวน 2 รางวัล ได้แก่
-
- วิทยานิพนธ์เรื่อง “การเพิ่มความเร็วของการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยวิธีการแบบการเรียนรู้เชิงลึกบนข้อมูลความถี่เชิงพื้นที่ (Accelerating MR Imaging Using Deep Learning on Spatial Frequency Data)”
-
- ดร.ศรัฐฐา กาญจนปรีชา ศิษย์เก่าหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT) เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
-
- วิทยานิพนธ์เรื่อง “การเพิ่มความเร็วของการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยวิธีการแบบการเรียนรู้เชิงลึกบนข้อมูลความถี่เชิงพื้นที่ (Accelerating MR Imaging Using Deep Learning on Spatial Frequency Data)”
-
- วิทยานิพนธ์เรื่อง “พัฒนาปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิเคราะห์คลื่นสัญญาณจากร่างกายคน (Learning from Biosignals)”
-
- ดร.อัคร สุประทักษ์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT โดยมี Professor Dr. Yike Guo, Department of Computing, Imperial College London เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
-
- วิทยานิพนธ์เรื่อง “พัฒนาปัญญาประดิษฐ์สำหรับวิเคราะห์คลื่นสัญญาณจากร่างกายคน (Learning from Biosignals)”
รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ระดับประกาศเกียรติคุณ จำนวน 2 รางวัล ได้แก่
-
- สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
- ผลงานเรื่อง “แอปพลิเคชันเชิงโต้ตอบที่ควบคุมด้วยการเคลื่อนไหวผ่านระบบกล้องเพื่อพัฒนาทักษะการประสานระหว่างการเคลื่อนไหวของมือ และการมองเห็นในกิจกรรมบำบัด (Computer Vision Based Interactive Application to Improve Eye-hand Coordination Skill in Occupational Therapy)”
- รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT)
- นายพันธกร สถาปนาสกุล ศิษย์เก่าหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT หลักสูตรนานาชาติ) รุ่น 17
- นายอัครพงศ์ สิริเลิศสุนทร ศิษย์เก่าหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT หลักสูตรนานาชาติ) รุ่น 17
- นายดลวรรธน์ ศาศวัตเตชะ ศิษย์เก่าหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT หลักสูตรนานาชาติ) รุ่น 17
- ผลงานเรื่อง “แอปพลิเคชันเชิงโต้ตอบที่ควบคุมด้วยการเคลื่อนไหวผ่านระบบกล้องเพื่อพัฒนาทักษะการประสานระหว่างการเคลื่อนไหวของมือ และการมองเห็นในกิจกรรมบำบัด (Computer Vision Based Interactive Application to Improve Eye-hand Coordination Skill in Occupational Therapy)”
- สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์
-
- สาขาการศึกษา
- ผลงานเรื่อง “เอไอไทยเจน: แพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้านปัญญาประดิษฐ์ (AIThaiGen: Al Learning Platform)”
- รองศาสตราจารย์ ดร.ปัณรสี ฤทธิประวัติ ภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
- รองศาสตราจารย์ ดร.วรพันธ์ คู่สกุลนิรันดร์ อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะ ICT และหัวหน้ากลุ่มวิจัย Machine Vision and Information Transfer Lab (MVIT)
- นายเชิญฉัตร ทรงศักดิ์ศุภโชค นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- Mr. Zaw Htet Aung นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ผลงานเรื่อง “เอไอไทยเจน: แพลตฟอร์มการเรียนรู้ด้านปัญญาประดิษฐ์ (AIThaiGen: Al Learning Platform)”
- สาขาการศึกษา
ทั้งนี้ สามารถดูรายละเอียดการประกาศผลการพิจารณารางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2567 ได้ที่ https://www.nrct.go.th/news/pr/ประกาศผลการพิจารณารางวัลการวิจัยแห่งชาติ-2567
ขอขอบคุณภาพประกอบข่าวจาก: เว็บไซต์สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)